บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กันยายน 23, 2018

ลักษณะของผู้มีบุญบารมี

รูปภาพ
คนเรามีบุญบารมีไม่เท่ากัน พระพุทธเจ้าแต่ละองค์จะมีสาวกได้มาก ยุคนี้เป็นยุคของพระพุทธเจ้าองค์ที่สี่ หลังพระสมณโคดมปรินิพพานแล้ว ชาวพุทธเริ่มมีความคิดว่าเราก็มีบารมี ไม่ต้องสนใจใคร เราปฏิบัติเองก็ได้โดยการ “อ่านเอา” อันนี้ทำให้หลงตัวเองครับ ในบทความฉบับนี้ จึ ง ขออธิบายเรื่องผู้มีบารมี ดังต่อไปนี้ ๑ จะไม่ทำงานเพื่ออาชีพไ ป ตลอดชีวิต เพื่อจะได้มีเวลาเหลือในการ “ทำงานเพื่อธรรม” นั่นเอง ธรรมชาติจะจัดสรรมาเช่นนี้ เฉพาะผู้ที่มีบุญบารมีมากแล้วในชาติก่อนเท่านั้นนะครับ ผู้ที่มีบุญบารมีน้อยจะไม่ได้รับเช่นนี้ ต้องทำงานเพื่ออาชีพต่อไปจนกว่าจะได้บุญบารมีเต็ม ดังนั้น การตกงาน, การไม่มีงานทำ ฯลฯ อาจหมาย ถึง การกระทำจน ถึง ที่สุดแล้ว เต็มที่แล้ว พอดีแล้วและ “ไม่ต้องทำอีกแล้ว” ก็ได้ สิ่งที่จะต้องทำต่อไปคือ ปฏิบัติธรรมและทำกิจทางธรรม นั่นเอง คนที่ทำงานจนตายอาจได้เป็นเทพ แต่คนที่ทำงานหมดเสร็จก่อนตายมีเวลาค้นหาธรรมอาจได้โพธิสัตว์หรือพุทธะครับ คุณต้องเข้าใจว่าการทำงานทางโลกคือระบบของซาตาน แต่การทำงานทางธรรมนั้นแตกต่างกัน ๒ จะไม่ใช่คนไม่มี ประสบการณ์ใดเลย ผู้มีบุญบารมีจะโปรดสัตว์ได้ต้องม

ภูมิปัญญาแห่ง “โลกและระบบ” (กรงขัง)

รูปภาพ
เพราะสรรพสัตว์ทั้งหลายมิได้หลุดพ้นพร้อมกัน สัตว์บางกลุ่มยังไม่หลุดพ้น ยังต้องเวียนว่ายตายเกิดต่อไป ดังนั้น สัตว์ทั้งหลายจำเป็นต้องยังอาศัยในโลกก่อน โลกเป็นอย่างไร? ระบบในโลกเป็นอย่างไร? เพื่อที่จะได้คุมสรรพสัตว์ที่ยังไม่หลุดพ้นเอาไว้ให้ได้ ในบทความนี้ จะขออธิบายเพื่อให้เข้าใจมากยิ่ง ขึ้น ดังต่อไปนี้ครับ ๑ โล กคืออะไร มีไว้เพื่ออะไร? ดังที่ได้กล่าวแล้วว่าสัตว์ทั้งหลายมิได้หลุดพ้นพร้อมกัน สัตว์ที่ยังไม่หลุดพ้นก็ต้องยังอยู่ในโลกเวียนว่ายตายเกิดต่อไป ดังนั้น โลกต้องถูกสร้าง ขึ้น มาเพื่อรองรับการเวียนว่ายตายเกิด และการดำรงอยู่ของสัตว์ทั้งหลายดังนี้ โลกไม่ได้เกิดเอง ไม่ได้เกิดแบบสุ่มสี่สุ่มห้า แต่ถูกวางแผนมาอย่างดี อะไรที่ไม่จำเป็นต่อกระบวนการนี้ จะไม่มีในโลก อะไรที่หมดความจำเป็นแล้วจะถูกขจัดออกไปจากโลก ทุกอย่างที่มีอยู่มีเพื่อทำหน้าที่ของมันก็เท่านั้นเอง ดังนั้น ทุกอย่างจึ ง มีที่มาที่ไปทั้งหมด มีเหตุมีผลทั้งสิ้น ไม่มีอะไรเกิด ขึ้น มาเองลอยๆ เลย และผู้ที่อยู่ในระดับสูงๆ จะมีภูมิปัญญาพอ จะเห็นโลกเหมือนเครื่องยนต์เครื่อง หนึ่ง ได้ สามารถสร้างหรือซ่อมก็ได้ น ๒ โลกก็เหมือนก

ข้อคิดสำหรับฆราวาสผู้ทรงธรรม

รูปภาพ
หลายท่านมักคิดว่าไม่ต้องบวชก็สามารถบรรลุธรรมได้ จริงครับ แต่ “น้อยมากๆ” และหลายท่านมักทำไม่ได้จริงดังที่พูด การปฏิบัติธรรมในเพศฆราวาสนั้นผู้เขียนได้เห็นมาเยอะ คนที่ได้จริงๆ เขามักป่วยจนเกือบตาย กว่าจะเห็นสัจธรรม ไม่ง่ายเลยนะ ในบทความนี้จะขออธิบาย ถึง ข้อคิดสำหรับฆราวาสผู้ทรงธรรม ดังต่อไปนี้ ๑ อย่าเพิ่งไ ปคิดว่าตนมีธรรม อันนี้เตือนบ่อยมาก แต่ก็ยังต้องเตือนต่อไป เพราะหลายคนพอได้ยินได้ฟังธรรมะปั้บ จะเผลอคิดไปทันทีว่าตนรู้ธรรมแล้ว มันเป็นแค่ “การรับรู้” ครับ ไม่ใช่การตรัสรู้ ดังนั้น แม้ได้ยินได้ฟังธรรมะ รู้และเข้าใจมากมาย ทว่า จิตก็เหมือนเดิม ไม่เกี่ยวกับการบรรลุธรรมอะไรทั้งนั้นนะ ทว่า หลายคนจะเผลอง่าย ขาดสติง่าย พอมีธรรมะเข้ามาปั้บ ขาดสติปุ๊บ คิดว่า “กูรู้” แล้ว ไอ้กูรูทั้งหลาย มันก็เข้ามาสิงร่างเต็มไปหมดเลย เดี๋ยวนี้เป็นกันเยอะ เป็นแล้วรักษาไม่ได้นะ ว่าทีก็เลิกพฤติกรรมไปที แต่ไม่หายขาดหรอก ปีศาจงูมันสิงร่างแล้ว ปีศาจงูนี่จะหลอกให้เราขโมยกินผลไม้แห่งการรู้ เราก็จะรู้ไปหมด หลงว่าตัวเองรู้ รู้นั่นรู้นี่ แล้วไปเถียงกับคนอื่นทั่ว ๒ มีแต่พระศรีอาร์ฯ ที่บรรลุในผ้าขาว มีพระโพ

ภูมิปัญญาแห่ง “ธรรมะ ธรรมชาติ”

รูปภาพ
ในหลายๆ บทความก่อนนั้น ได้กล่าวคำว่า “ธรรมะ ธรรมชาติ” บ่อยมากๆ หลายท่านอาจสงสัยว่าคืออะไร? เหตุใดจะต้องกล่าวบ่อยๆ? เพราะส่วนใหญ่เรามักได้ยินแต่คำว่า นิพพานบ้าง, ความว่างเปล่าบ้าง, เต๋าบ้าง, ความหลุดพ้นบ้าง ฯลฯ ในบทความนี้ ขอนำมาอธิบายขยายความเพื่อให้เข้าใจมากยิ่ง ขึ้น ดังต่อไปนี้ครับ ๑ ไม่มีสิ่งที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว หลายคนพยายามค้นหา “สิ่งที่ถูกที่สุด” ข้อเดียว เหมือนสัจธรรมอะไรสักอย่าง เมื่อค้นพบหรือคิดว่าค้นพบแล้ว พวกเขาก็จะยึดถือเอาไว้เป็นสรณะ แล้วใส่ประจุบวกลงไป เมื่อมีประจุบวก ก็ต้องมีประจุลบ พวกเขาก็เลยมีปฎิฆะกับธรรมะอื่นๆ ที่แตกต่างออกไป คิดว่ามันผิด มันไม่ใช่ หรือแม้กระทั่งมองว่ามันเลวร้ายก็มีครับ เมื่อก่อนคนยึดติดกับ “นิพพาน” มากจนสุดโต่ง สมัยนี้จะเริ่มยึดติดกับ “ความว่างเปล่า” แทน เหมือนสินค้าใหม่ที่มาแทนที่ของเก่าเพราะของเก่ามันเริ่มน่าเบื่อ ไม่น่าสนใจแล้วนั่นเอง อาการ “คว้าจับหรือยึดจับ” สิ่งใดสิ่ง หนึ่ง เอาไว้นี้ ไม่ต่างอะไรกับคนที่กำลังจมน้ำที่ไขว่คว้าจับอะไรสักอย่าง จนหลงลืมอย่างอื่นเลยครับ น ๒ ทุกสรรพสิ่งเป็นธรรมะอยู่แล้ว สรรพสิ่งทั้งหลายก็คือ

ปฏิบัติธรรมด้วยการกระทำออกมา

รูปภาพ
ในบทความก่อนๆ ได้กล่าวไปแล้วว่าการกระทำสำคัญมากกว่าการพูดและคิด เพราะมันบิดเบือนความจริงได้ยากกว่าการพูดและคิด ดังนั้น จึ ง เน้นให้กระทำให้มากๆ กระทำออกมาเพื่อที่จะดูว่าภายในของเราเป็นอะไร เราปฏิบัติธรรมได้ผลจริงไหม? มีพลังงานแฝงอะไรหรือไม่? ในบทความนี้จะขออธิบาย ดังต่อไปนี้ครับ ๑ การกระทำสามระดับ การกระทำของคนเรานั้นมีสามระดับคือ ระดับปกติ ระดับลึก และระดับเปลือกนอก คำว่า การกระทำระดับปกติก็คือ การกระทำที่ตรงกับจิตวิญญาณข้างในที่เราเป็นอยู่ กระทำออกมาตรงๆ เราเป็นอย่างไรก็กระทำออกมาเช่นนั้น ส่วนการกระทำระดับเปลือกนอกหมาย ถึง การกระทำที่เกิดจากการ “นำเอาสิ่งภายนอก” มาห่อหุ้มคลุมตัวให้ดูดี เช่น อิทธิพลจากสังคม, คำสอนเรื่องคุณธรรมต่างๆ ฯลฯ ทำให้เรามีเปลือกนอกที่ดูดีได้ ส่วนกระทำระดับลึกก็คือ การกระทำจากตัวตนที่แท้จริงของเราที่ถูกกดข่มซ่อนไว้เบื้องลึกในตัวเราเอง ทว่า จะออกมาได้ต้องถูกสถานการณ์บีบคั้นอย่างหนัก คนเราจึ ง จะเผยธาตุแท้ของตัวเองออกมาได้ยังไงละครับ ๒ การกระทำจากธาตุแท้ ดังที่กล่าวแล้วว่าการกระทำของคนเรามีสามระดับ การที่เราจะเห็น “ธาตุแท้” ได้นั้น ต้องดูจากกา

เทคนิคการมีสติเท่าทันพลังงานแฝงต่างๆ

รูปภาพ
ผู้ปฏิบัติธรรมหลายท่านมักมี “พลังงานแฝง” ในร่างกายโดยไม่มีสติรู้เท่าทัน ไม่รู้ตัวเอง ยิ่งกว่านั้นสิ่งที่เข้ามาแฝงในร่างเรานั้นจะคอย “ครอบงำ” ให้เราคิดไปต่างๆ นานาเพื่อให้เราตกอยู่ในอำนาจของมัน เช่น ทำให้เราหลงตัวเองไม่ฟังใคร ใครจะเตือนอะไรก็ไม่เชื่ออีกแล้ว ในบทความนี้จะขออธิบาย ดังต่อไปนี้ครับ ๑ อย่าเชื่อความคิดเกินไ ป หลายคนคิดว่าตนเองปฏิบัติธรรมได้ดีถูกต้องแล้ว เพราะเชื่อความคิดตัวเองเกินไปครับเช่น คนที่มีความคิดดีๆ ทั้งยังสามารถแสดงความคิดเห็นได้เก่ง ถกเถียงเก่ง เอาชนะคนอื่นได้เก่งอีกด้วย อันนี้ ไม่เกี่ยวอะไรกับผลการปฏิบัติธรรมนะครับ ความคิดมันก็เป็นแค่ส่วน หนึ่ง ของสัญญาขันธ์เท่านั้น คนบางคนเกิดมาสมองดี อ่านธรรมะ เรียนรู้ธรรมะแล้วได้ความคิดดีๆ เข้าใจธรรมะมากมาย สามารถแสดงความคิดเห็นอะไรได้มากก็มีครับ ทว่า จิตวิญญาณของเขาอาจเสื่อมต่ำเป็นปีศาจ, มาร, อสูร ฯลฯ ได้หมดเลย หลายคนที่มีความคิดดีๆ เก่งๆ หากมองเห็นจิตวิญญาณภายในของตัวเองได้อาจตกใจ เพราะมันไม่ได้พัฒนาดี ขึ้น แต่อย่างใดเลย ๒ สำรวจภายในตัวเองบ่อยๆ “กายในกาย จิตในจิต” นี่คือ หลักในการเจริญสติ ท่านให้ไว้อย่างนี